อาหารทางการแพทย์ต้องใช้ภายใต้คำแนะนำของแพทย์
นี่คือขั้นตอนการคำนวณและควบคุมโซเดียมในอาหารแต่ละมื้อ:
ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีปัญหาทางช่องปากทำให้เคี้ยวอาหารลำบาก
ความเป็นส่วนตัวของคุณมีความสำคัญต่อเรา เราต้องการข้อมูลของคุณสำหรับกระบวนการที่สำคัญเท่านั้น โปรดอนุญาตหากคุณยอมรับข้อกำหนดความเป็นส่วนตัว นโยบายความเป็นส่วนตัว
คุณออมจบคณะวิทยาศาสตร์ เอกการกำหนดอาหารและโภชนบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ผ่านการสอบและขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขากำหนดอาหาร และมีประสบการณ์ทำงานในธุรกิจด้านอาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค เช่น โรคไตเสื่อม โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคความดันโลหิต ฯลฯ รวมไปถึงให้คำแนะนำผู้ที่สนใจอาหารเพื่อสุขภาพด้วย ซึ่งจะเน้นให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ คิดและพัฒนาสูตรอาหาร ปัจจุบันคุณออมทำงานในหน่วยงานภาครัฐ โดยปฏิบัติงานและศึกษาเจาะลึกเกี่ยวกับ "อาหารหรือโภชนาการของผู้สูงอายุ" โดยเฉพาะ โดยส่วนตัวแล้วคุณออมมีความสนใจด้านสุขภาพเป็นพิเศษ เพราะเชื่อว่าการมีสุขภาพที่ดีต้องเริ่มต้นจาก "อาหาร" จึงเลือกศึกษาถึงความสำคัญของอาหารแต่ละชนิด รวมถึงอาหารที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อตัวโรค ฯลฯ เพราะเมื่อเราเข้าใจถึงอาหารและวัตถุดิบต่าง ๆ มากขึ้น เราจะรู้จักการกินอาหารให้เป็นยา โดยไม่ต้องกินยาเป็นอาหาร โปรตีนสำหรับผู้ป่วย คุณออมจึงอยากแบ่งปันถึงเคล็บลับหรือแนวทางการเลือกกินอาหารที่เหมาะสมในแต่ละบุคคล เพื่อช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
คำบรรยายสินค้าแต่ละรายการอ้างอิงจากเนื้อหาที่แสดงในเว็บไซต์ผู้ผลิต แบรนด์ และเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ, ผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยติดเตียงมักจะมีภาวะกลืนลำบากหรือไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ ซึ่งอาหารเหลวจะกลืนง่าย ย่อยง่ายและมีความละเอียดสูง จึงช่วยลดภาวะอาหารติดหลอดลม
ถั่ว, ธัญพืช, น้ำตาล, น้ำผึ้ง, น้ำเชื่อม, อาหารสุขภาพ
ผู้ป่วยหรือผู้ที่อยู่ในระยะพักฟื้น、ผู้มีปัญหาเคี้ยวกลืน
ชุมชนคือพื้นที่ปลอดภัยที่คุณสามารถพูดคุยกับสมาชิกคนอื่น ๆ แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่สนใจ และรับคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ในประเด็นด้านสุขภาพที่สำคัญที่สุด
ประโยชน์ “ไข่แดง”น้อยกว่าไข่ขาวจริงหรือไม่?
ผู้ป่วย โรคไต ในแต่ละระยะ ความต้องการโปรตีนแตกต่างกัน
ผู้ป่วยหรือผู้ที่อยู่ในระยะพักฟื้น、ผู้ป่วยโรคมะเร็ง